อ่านข่าวย้อนหลัง ทั้งหมด หน้า 26622

เนื้อหาทั้งหมด

เนื้อหาทั้งหมด ใหม่ล่าสุด

เนื้อหาทั้งหมด
ใหม่ล่าสุด
ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

นายมงคล ลีลาธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) บริษัทในเครือไทยประกันชีวิต จำกัด  เปิดเผยว่า ธนาคารยังยืนยันในการเดินหน้าเข้าไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ตามนโยบายของบริษัทแม่ คือ ภายในระยะ 3 ปีจากนี้ไป ธนาคารจะต้องเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ให้ได้ และมั่นใจว่าจะเป็นไปตามแผนที่ธนาคารตั้งไว้แน่นอน ส่วนเป้าหมายการดำเนินธุรกิจของธนาคารช่วงปี 2553 ในเบื้องต้นนั้น ธนาคารจะเน้นลูกค้ากลุ่มรายย่อยต่อเนื่อง โดยปี 2553 ธนาคารได้ตั้งเป้าฐานลูกค้าสินเชื่อรายย่อยเพิ่มเป็น 6,000 ล้านบาท จากฐานลูกค้าปัจจุบันในปีนี้ที่ 3,000 ล้านบาท โดยในช่วงต้นเดือนมกราคม 2553 ธนาคารจะเปิดเผยถึงแผนการกระตุ้นสินเชื่อดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งยอมรนับว่าแผนการกระตุ้นสินเชื่อรายย่อยที่ธนาคารได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในช่วงปี 2553 นั้นมีหลากหลาย  อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าหลังจากที่ธนาคารดำเนินการตามแผนงานที่ตั้งไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้เป้าหมายในการเพิ่มฐานสินเชื่อรายย่อยเป็นไปตามที่ธนาคารคาดการณ์ไว้แน่นอน สำหรับพอร์ตสินเชื่อธนาคารปีนี้มีทั้งสินประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นสินเชื่อเช่าซื้อประมาณ 4,000 ล้านบาท สินเชื่อที่อยู่อาศัยประมาณ 3,000 ล้านบาท และสินเชื่อเอสเอ็มอีประมาณ 3,000  ล้านบาท  โดยมีฐานเงินฝากอยู่ที่ 10,000 ล้านบาทเช่นกัน ซึ่งในช่วงปีหน้าธนาคารก็ยังคงมีแผนระดมเงินฝากต่อเนื่องจากช่วงปีนี้ ส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ NPL ของธนาคารยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.5%           

เปิดอ่าน5
IVLเสนอซื้อIRP 591.71ล.หุ้นตั้งแต่วันนี้

IVLเสนอซื้อIRP 591.71ล.หุ้นตั้งแต่วันนี้

         รายงานข่าวจาก บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน) ( IVL  หรือ ผู้ทำคำเสนอซื้อ ) ขอเสนอซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทอินโดรามา โพลีเมอร์ส จำกัด (มหาชน) ( IRP  หรือ  กิจการ ) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้   1.       วันที่ยื่นคำเสนอซื้อ        วันที่ 23 ธันวาคม 2552   2.       ชื่อผู้ทำคำเสนอซื้อ         บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน)   3.       ชื่อผู้จัดเตรียมคำเสนอซื้อ     บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) (  ผู้จัดเตรียมคำเสนอซื้อ  หรือ  ตัวแทนในการรับซื้อหลักทรัพย์ )   4.       วัตถุประสงค์ในการทำคำเสนอซื้อ         IVL มีความประสงค์ที่จะทำคำเสนอซื้อหุ้นสามัญของกิจการทั้งหมดจากผู้ถือหุ้นของกิจการ ยกเว้นในส่วนที่ถือโดย  IVL และ บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ( IRH ) ( ผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการ ) โดยแลกกับหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ออกใหม่   ของ IVL โดยการทำคำเสนอซื้อครั้งนี้เป็นขั้นตอนหนึ่งในการปรับโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ระหว่าง IVL    กับกิจการ ที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของกิจการครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552 ( การปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ ) โดยภายหลังจากการทำคำเสนอซื้อหุ้นสามัญของกิจการและเมื่อได้รับอนุญาตจากตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ( ตลาดหลักทรัพย์ฯ ) IVL จะนำหุ้นทั้งหมดของ IVL เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ  และกิจการจะดำเนินการเพิกถอนหุ้นของตนออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ         IVL เชื่อว่าการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ ในครั้งนี้ จะช่วยขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต  ระหว่าง IVL และ กิจการ รวมถึงกลุ่มบริษัท ซึ่งเป็นไปตามหลักปฏิบัติของการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) และจะทำให้โครงสร้างของกลุ่มบริษัทมีความโปร่งใสและชัดเจน นอกจากนี้ IVL มีความประสงค์ที่จะ ทำการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ต่อประชาชน ( IPO ) ในระยะเวลาใกล้เคียงกันกับการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ         ภายหลังการทำ IPO และการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ ครั้งนี้แล้วเสร็จ IVLจะมีสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ และกิจการจะถูกเพิกถอนออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันเดียวกันกับ         วันที่ IVL เริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อจะเปลี่ยนสถานะเป็นผู้ถือหุ้นของ IVL และจะสามารถทำการซื้อขายหุ้นของ IVL ที่ได้รับเป็นค่าตอบแทนจากการตอบรับคำเสนอซื้อได้       พร้อมกับผู้ที่จองซื้อหุ้น IPO ของ IVL ในวันที่เริ่มทำการซื้อขายหุ้นของ IVL ในตลาดหลักทรัพย์ฯ    5.       ประเภทหลักทรัพย์และรุ่นที่เสนอซื้อ      ณ วันที่ยื่นคำเสนอซื้อ กิจการมีหุ้นสามัญที่ชำระแล้วจำนวน 1,382,197,870 หุ้น (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท)  โดยผู้ทำคำเสนอซื้อถือหุ้นของกิจการเป็นจำนวน 591,717,870 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของหุ้นที่ชำระแล้ว     ทั้งหมดของกิจการ และเมื่อรวมกับหุ้นของกิจการที่ IRH ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ IVL ถืออยู่ จำนวน 365,999,970 หุ้น  หรือคิดเป็นร้อยละ 26.48 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมด จะทำให้ผู้ทำคำเสนอซื้อและบริษัทย่อยถือหุ้นของกิจการรวม     ทั้งสิ้นจำนวน 957,717,840 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 69.29 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมดของกิจการ      อย่างไรก็ตาม ผู้ทำคำเสนอซื้อจะไม่ทำคำเสนอซื้อหุ้นของกิจการที่ IRH ถืออยู่ จำนวน 365,999,970 หุ้น หรือคิดเป็น  ร้อยละ 26.48 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมดของกิจการ เนื่องจากจะก่อให้เกิดโครงสร้างการถือหุ้นไขว้กันระหว่างกลุ่ม     บริษัท ซึ่งเป็นโครงสร้างการถือหุ้นที่ขัดต่อประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาต  และการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม)     ดังนั้น จำนวนหุ้นทั้งหมดของกิจการ ที่ผู้ทำคำเสนอซื้อจะเสนอซื้อจากผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการ เท่ากับ 424,480,030 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 30.71 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมดของกิจการ โดยคิดเป็นสิทธิออกเสียงจำนวน 424,480,030 เสียง หรือคิดเป็นร้อยละ 30.71 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมดของกิจการ   6.       ราคาเสนอซื้อ     IVL จะออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL เพื่อเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อหุ้น  ( ผู้ตอบรับคำเสนอซื้อ  หรือ  ผู้แสดงเจตนาขาย ) ในอัตราหุ้นสามัญของ IRP จำนวน 1 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ  1 บาท) ต่อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL จำนวน 1.2320 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ( อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้น ) โดยจะไม่มีการชำระค่าตอบแทนหุ้นของกิจการในรูปของตัวเงิน (No Cash Alternative) ในกรณีที่มีเศษของหุ้น     ให้ปัดทิ้งและจะไม่มีการจ่ายเงินชดเชยเพื่อชำระค่าเศษหุ้นที่ปัดทิ้ง      (   ) เป็นราคาเสนอซื้อสุดท้ายที่จะไม่เปลี่ยนแปลงอีก (final offer) (เว้นแต่เข้าเงื่อนไขที่แจ้งไว้ตามข้อ 8)      ( / ) ไม่ใช่ราคาเสนอซื้อสุดท้าย ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจปรับอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว หากเข้าเงื่อนไขที่แจ้ง  ตามข้อ 8     ทั้งนี้ อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว อาจไม่ใช่ข้อเสนอซื้อสุดท้าย แต่ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจปรับอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว หากเข้าเงื่อนไขที่แจ้งตามข้อ 8 ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการประกาศข้อเสนอสุดท้ายและประกาศระยะเวลารับซื้อ     สุดท้าย (Final offer/ Final day) IVL จะดำเนินการให้มีระยะเวลารับซื้อเหลือ หลังจากการประกาศข้อเสนอสุดท้าย และประกาศระยะเวลารับซื้อสุดท้าย แล้วแต่กรณี อย่างน้อย 5 วันทำการ ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับผ่อนผันจาก     คณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ กรณีการขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลงวันที่ 10 กันยายน 2552   7.       ระยะเวลารับซื้อ     IVL จะรับซื้อหลักทรัพย์ของกิจการเป็นเวลา 26 วันทำการ ระหว่างเวลา 9:00 น. ถึง 16:00 น. ของทุกวันทำการ ตั้งแต่ วันที่ 24 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวเป็น (   ) ระยะเวลารับซื้อสุดท้ายที่จะไม่ขยายระยะเวลารับซื้ออีก (เว้นแต่เข้าเงื่อนไขที่แจ้งไว้ตามข้อ 8) ( / ) ไม่ใช่ระยะเวลารับซื้อสุดท้าย ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจขยายระยะเวลารับซื้อได้ ทั้งนี้ I V L อาจพิจารณาขยายระยะเวลารับซื้อหลักทรัพย์ออกไปได้อีก โดยระยะเวลารับซื้อทั้งหมดจะไม่เกิน 45 วันทำการ ทั้งนี้ หลังจากประกาศข้อเสนอสุดท้ายและระยะเวลารับซื้อสุดท้าย (Final offer/ Final day) หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อเสนอในคำเสนอซื้อ IVL จะกำหนดให้มีระยะเวลารับซื้อที่เหลือหลังจากวันที่ประกาศอย่างน้อย 5 วันทำการ ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับผ่อนผันจากคณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการกรณีการขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลงวันที่10 กันยายน 2552   8.       เงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำเสนอซื้อ ( ) ไม่มีเงื่อนไข (/) มีเงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำเสนอซื้อ ดังนี้         (/) ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจลดราคาเสนอซื้อหรือขยายระยะเวลาในการเสนอซื้อ หากมีเหตุการณ์ร้ายแรง  ต่อฐานะหรือทรัพย์สินของกิจการในระหว่างระยะเวลารับซื้อ         (/) ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจแก้ไขข้อเสนอหรือขยายระยะเวลาในการเสนอซื้อเพื่อแข่งขันกับบุคคลอื่นนั้น     หากมีบุคคลอื่นยื่นคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ของกิจการในระหว่างระยะเวลารับซื้อ         (/) ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจแก้ไขข้อเสนอหรือขยายระยะเวลาในการเสนอซื้อ หากราคา IPO ของหุ้น IVL  ต่ำกว่าราคาหุ้นของ IVLในการแลกเปลี่ยนหุ้นที่คำนวณได้จากราคาอ้างอิงของหุ้นของกิจการซึ่ง   กำหนดไว้เท่ากับ 14 บาทต่อหุ้น1 หารด้วยอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นที่ IVLเสนอ IVL จะทำการปรับ อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว โดยอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นใหม่จะคำนวณโดยใช้ราคาอ้างอิง ของหุ้นของกิจการซึ่งกำหนดไว้เท่ากับ 14 บาทต่อหุ้น1 หารด้วย ราคา IPO ของหุ้นของ IVL ซึ่งถูกหักส่วนลดร้อยละ 3 และใช้ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ทั้งนี้ อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นใหม่นี้จะเป็นอัตราที่ดีขึ้นกว่าเดิม และเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อในครั้งนี้            ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อเสนอในคำเสนอซื้อ อันเนื่องมาจากราคา IPO ตามเงื่อนไขข้างต้น IVL จะดำเนินการให้มีระยะเวลารับซื้อเหลือ หลังจากการประกาศการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อเสนอดังกล่าว อย่างน้อย 5 วันทำการ ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับผ่อนผันจาก  คณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ กรณีการขอผ่อนผันหลักเกณฑ์                เงื่อนไข และวิธีการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลงวันที่ 10 กันยายน 2552                หมายเหตุ: 1 ราคาอ้างอิงของหุ้นของกิจการคิดจากราคาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 15 วันทำการของหุ้นของกิจการก่อน                วันประชุมคณะกรรมการบริษัทของ IVL เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2552 บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 13.09                การจัดสรรการรับซื้อกรณีมีผู้แสดงเจตนาขายมากกว่าหรือน้อยกว่าจำนวนที่เสนอซื้อผู้ทำคำเสนอซื้อจะรับซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของกิจการ            IVL จะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL เพื่อเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อในอัตราหุ้นสามัญของกิจการจำนวน 1 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ต่อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL จำนวน1.2320 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) โดยจะไม่มีการชำระค่าตอบแทนหุ้นของกิจการในรูปของตัวเงิน(No Cash Alternative) ในกรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้งและจะไม่มีการจ่ายเงินชดเชยเพื่อชำระค่าเศษหุ้นที่ปัดทิ้งทั้งนี้ IVL จะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL จำนวนไม่เกิน 817,000,000 หุ้น หรือคิดเป็นไม่เกินร้อยละ17.06ของจำนวนหุ้นทั้งหมดภายหลังจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ และการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ประชาชน

เปิดอ่าน9
IVLเสนอซื้อIRP 591.71ล.หุ้นตั้งแต่วันนี้

IVLเสนอซื้อIRP 591.71ล.หุ้นตั้งแต่วันนี้

         รายงานข่าวจาก บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน) ( IVL  หรือ ผู้ทำคำเสนอซื้อ ) ขอเสนอซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทอินโดรามา โพลีเมอร์ส จำกัด (มหาชน) ( IRP  หรือ  กิจการ ) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้   1.       วันที่ยื่นคำเสนอซื้อ        วันที่ 23 ธันวาคม 2552   2.       ชื่อผู้ทำคำเสนอซื้อ         บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน)   3.       ชื่อผู้จัดเตรียมคำเสนอซื้อ     บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) (  ผู้จัดเตรียมคำเสนอซื้อ  หรือ  ตัวแทนในการรับซื้อหลักทรัพย์ )   4.       วัตถุประสงค์ในการทำคำเสนอซื้อ         IVL มีความประสงค์ที่จะทำคำเสนอซื้อหุ้นสามัญของกิจการทั้งหมดจากผู้ถือหุ้นของกิจการ ยกเว้นในส่วนที่ถือโดย  IVL และ บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ( IRH ) ( ผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการ ) โดยแลกกับหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ออกใหม่   ของ IVL โดยการทำคำเสนอซื้อครั้งนี้เป็นขั้นตอนหนึ่งในการปรับโครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ระหว่าง IVL    กับกิจการ ที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของกิจการครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2552 ( การปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ ) โดยภายหลังจากการทำคำเสนอซื้อหุ้นสามัญของกิจการและเมื่อได้รับอนุญาตจากตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ( ตลาดหลักทรัพย์ฯ ) IVL จะนำหุ้นทั้งหมดของ IVL เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ  และกิจการจะดำเนินการเพิกถอนหุ้นของตนออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ         IVL เชื่อว่าการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ ในครั้งนี้ จะช่วยขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต  ระหว่าง IVL และ กิจการ รวมถึงกลุ่มบริษัท ซึ่งเป็นไปตามหลักปฏิบัติของการกำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) และจะทำให้โครงสร้างของกลุ่มบริษัทมีความโปร่งใสและชัดเจน นอกจากนี้ IVL มีความประสงค์ที่จะ ทำการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ต่อประชาชน ( IPO ) ในระยะเวลาใกล้เคียงกันกับการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ         ภายหลังการทำ IPO และการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ ครั้งนี้แล้วเสร็จ IVLจะมีสถานะเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ และกิจการจะถูกเพิกถอนออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันเดียวกันกับ         วันที่ IVL เริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อจะเปลี่ยนสถานะเป็นผู้ถือหุ้นของ IVL และจะสามารถทำการซื้อขายหุ้นของ IVL ที่ได้รับเป็นค่าตอบแทนจากการตอบรับคำเสนอซื้อได้       พร้อมกับผู้ที่จองซื้อหุ้น IPO ของ IVL ในวันที่เริ่มทำการซื้อขายหุ้นของ IVL ในตลาดหลักทรัพย์ฯ    5.       ประเภทหลักทรัพย์และรุ่นที่เสนอซื้อ      ณ วันที่ยื่นคำเสนอซื้อ กิจการมีหุ้นสามัญที่ชำระแล้วจำนวน 1,382,197,870 หุ้น (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท)  โดยผู้ทำคำเสนอซื้อถือหุ้นของกิจการเป็นจำนวน 591,717,870 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของหุ้นที่ชำระแล้ว     ทั้งหมดของกิจการ และเมื่อรวมกับหุ้นของกิจการที่ IRH ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ IVL ถืออยู่ จำนวน 365,999,970 หุ้น  หรือคิดเป็นร้อยละ 26.48 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมด จะทำให้ผู้ทำคำเสนอซื้อและบริษัทย่อยถือหุ้นของกิจการรวม     ทั้งสิ้นจำนวน 957,717,840 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 69.29 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมดของกิจการ      อย่างไรก็ตาม ผู้ทำคำเสนอซื้อจะไม่ทำคำเสนอซื้อหุ้นของกิจการที่ IRH ถืออยู่ จำนวน 365,999,970 หุ้น หรือคิดเป็น  ร้อยละ 26.48 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมดของกิจการ เนื่องจากจะก่อให้เกิดโครงสร้างการถือหุ้นไขว้กันระหว่างกลุ่ม     บริษัท ซึ่งเป็นโครงสร้างการถือหุ้นที่ขัดต่อประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาต  และการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม)     ดังนั้น จำนวนหุ้นทั้งหมดของกิจการ ที่ผู้ทำคำเสนอซื้อจะเสนอซื้อจากผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการ เท่ากับ 424,480,030 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 30.71 ของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมดของกิจการ โดยคิดเป็นสิทธิออกเสียงจำนวน 424,480,030 เสียง หรือคิดเป็นร้อยละ 30.71 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมดของกิจการ   6.       ราคาเสนอซื้อ     IVL จะออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL เพื่อเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อหุ้น  ( ผู้ตอบรับคำเสนอซื้อ  หรือ  ผู้แสดงเจตนาขาย ) ในอัตราหุ้นสามัญของ IRP จำนวน 1 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ  1 บาท) ต่อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL จำนวน 1.2320 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ( อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้น ) โดยจะไม่มีการชำระค่าตอบแทนหุ้นของกิจการในรูปของตัวเงิน (No Cash Alternative) ในกรณีที่มีเศษของหุ้น     ให้ปัดทิ้งและจะไม่มีการจ่ายเงินชดเชยเพื่อชำระค่าเศษหุ้นที่ปัดทิ้ง      (   ) เป็นราคาเสนอซื้อสุดท้ายที่จะไม่เปลี่ยนแปลงอีก (final offer) (เว้นแต่เข้าเงื่อนไขที่แจ้งไว้ตามข้อ 8)      ( / ) ไม่ใช่ราคาเสนอซื้อสุดท้าย ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจปรับอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว หากเข้าเงื่อนไขที่แจ้ง  ตามข้อ 8     ทั้งนี้ อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว อาจไม่ใช่ข้อเสนอซื้อสุดท้าย แต่ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจปรับอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว หากเข้าเงื่อนไขที่แจ้งตามข้อ 8 ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการประกาศข้อเสนอสุดท้ายและประกาศระยะเวลารับซื้อ     สุดท้าย (Final offer/ Final day) IVL จะดำเนินการให้มีระยะเวลารับซื้อเหลือ หลังจากการประกาศข้อเสนอสุดท้าย และประกาศระยะเวลารับซื้อสุดท้าย แล้วแต่กรณี อย่างน้อย 5 วันทำการ ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับผ่อนผันจาก     คณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ กรณีการขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลงวันที่ 10 กันยายน 2552   7.       ระยะเวลารับซื้อ     IVL จะรับซื้อหลักทรัพย์ของกิจการเป็นเวลา 26 วันทำการ ระหว่างเวลา 9:00 น. ถึง 16:00 น. ของทุกวันทำการ ตั้งแต่ วันที่ 24 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวเป็น (   ) ระยะเวลารับซื้อสุดท้ายที่จะไม่ขยายระยะเวลารับซื้ออีก (เว้นแต่เข้าเงื่อนไขที่แจ้งไว้ตามข้อ 8) ( / ) ไม่ใช่ระยะเวลารับซื้อสุดท้าย ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจขยายระยะเวลารับซื้อได้ ทั้งนี้ I V L อาจพิจารณาขยายระยะเวลารับซื้อหลักทรัพย์ออกไปได้อีก โดยระยะเวลารับซื้อทั้งหมดจะไม่เกิน 45 วันทำการ ทั้งนี้ หลังจากประกาศข้อเสนอสุดท้ายและระยะเวลารับซื้อสุดท้าย (Final offer/ Final day) หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อเสนอในคำเสนอซื้อ IVL จะกำหนดให้มีระยะเวลารับซื้อที่เหลือหลังจากวันที่ประกาศอย่างน้อย 5 วันทำการ ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับผ่อนผันจากคณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการกรณีการขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลงวันที่10 กันยายน 2552   8.       เงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำเสนอซื้อ ( ) ไม่มีเงื่อนไข (/) มีเงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำเสนอซื้อ ดังนี้         (/) ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจลดราคาเสนอซื้อหรือขยายระยะเวลาในการเสนอซื้อ หากมีเหตุการณ์ร้ายแรง  ต่อฐานะหรือทรัพย์สินของกิจการในระหว่างระยะเวลารับซื้อ         (/) ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจแก้ไขข้อเสนอหรือขยายระยะเวลาในการเสนอซื้อเพื่อแข่งขันกับบุคคลอื่นนั้น     หากมีบุคคลอื่นยื่นคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ของกิจการในระหว่างระยะเวลารับซื้อ         (/) ผู้ทำคำเสนอซื้ออาจแก้ไขข้อเสนอหรือขยายระยะเวลาในการเสนอซื้อ หากราคา IPO ของหุ้น IVL  ต่ำกว่าราคาหุ้นของ IVLในการแลกเปลี่ยนหุ้นที่คำนวณได้จากราคาอ้างอิงของหุ้นของกิจการซึ่ง   กำหนดไว้เท่ากับ 14 บาทต่อหุ้น1 หารด้วยอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นที่ IVLเสนอ IVL จะทำการปรับ อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นดังกล่าว โดยอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นใหม่จะคำนวณโดยใช้ราคาอ้างอิง ของหุ้นของกิจการซึ่งกำหนดไว้เท่ากับ 14 บาทต่อหุ้น1 หารด้วย ราคา IPO ของหุ้นของ IVL ซึ่งถูกหักส่วนลดร้อยละ 3 และใช้ทศนิยม 4 ตำแหน่ง ทั้งนี้ อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นใหม่นี้จะเป็นอัตราที่ดีขึ้นกว่าเดิม และเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อในครั้งนี้            ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อเสนอในคำเสนอซื้อ อันเนื่องมาจากราคา IPO ตามเงื่อนไขข้างต้น IVL จะดำเนินการให้มีระยะเวลารับซื้อเหลือ หลังจากการประกาศการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อเสนอดังกล่าว อย่างน้อย 5 วันทำการ ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับผ่อนผันจาก  คณะอนุกรรมการวินิจฉัยการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ กรณีการขอผ่อนผันหลักเกณฑ์                เงื่อนไข และวิธีการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ลงวันที่ 10 กันยายน 2552                หมายเหตุ: 1 ราคาอ้างอิงของหุ้นของกิจการคิดจากราคาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 15 วันทำการของหุ้นของกิจการก่อน                วันประชุมคณะกรรมการบริษัทของ IVL เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2552 บวกส่วนเพิ่มร้อยละ 13.09                การจัดสรรการรับซื้อกรณีมีผู้แสดงเจตนาขายมากกว่าหรือน้อยกว่าจำนวนที่เสนอซื้อผู้ทำคำเสนอซื้อจะรับซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของกิจการ            IVL จะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL เพื่อเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายย่อยของกิจการที่ตอบรับคำเสนอซื้อในอัตราหุ้นสามัญของกิจการจำนวน 1 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ต่อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL จำนวน1.2320 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) โดยจะไม่มีการชำระค่าตอบแทนหุ้นของกิจการในรูปของตัวเงิน(No Cash Alternative) ในกรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้งและจะไม่มีการจ่ายเงินชดเชยเพื่อชำระค่าเศษหุ้นที่ปัดทิ้งทั้งนี้ IVL จะเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ IVL จำนวนไม่เกิน 817,000,000 หุ้น หรือคิดเป็นไม่เกินร้อยละ17.06ของจำนวนหุ้นทั้งหมดภายหลังจากการปรับโครงสร้างการถือหุ้นฯ และการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ประชาชน

เปิดอ่าน14
ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

นายมงคล ลีลาธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) บริษัทในเครือไทยประกันชีวิต จำกัด  เปิดเผยว่า ธนาคารยังยืนยันในการเดินหน้าเข้าไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ตามนโยบายของบริษัทแม่ คือ ภายในระยะ 3 ปีจากนี้ไป ธนาคารจะต้องเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ให้ได้ และมั่นใจว่าจะเป็นไปตามแผนที่ธนาคารตั้งไว้แน่นอน ส่วนเป้าหมายการดำเนินธุรกิจของธนาคารช่วงปี 2553 ในเบื้องต้นนั้น ธนาคารจะเน้นลูกค้ากลุ่มรายย่อยต่อเนื่อง โดยปี 2553 ธนาคารได้ตั้งเป้าฐานลูกค้าสินเชื่อรายย่อยเพิ่มเป็น 6,000 ล้านบาท จากฐานลูกค้าปัจจุบันในปีนี้ที่ 3,000 ล้านบาท โดยในช่วงต้นเดือนมกราคม 2553 ธนาคารจะเปิดเผยถึงแผนการกระตุ้นสินเชื่อดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งยอมรนับว่าแผนการกระตุ้นสินเชื่อรายย่อยที่ธนาคารได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในช่วงปี 2553 นั้นมีหลากหลาย  อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าหลังจากที่ธนาคารดำเนินการตามแผนงานที่ตั้งไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้เป้าหมายในการเพิ่มฐานสินเชื่อรายย่อยเป็นไปตามที่ธนาคารคาดการณ์ไว้แน่นอน สำหรับพอร์ตสินเชื่อธนาคารปีนี้มีทั้งสินประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นสินเชื่อเช่าซื้อประมาณ 4,000 ล้านบาท สินเชื่อที่อยู่อาศัยประมาณ 3,000 ล้านบาท และสินเชื่อเอสเอ็มอีประมาณ 3,000  ล้านบาท  โดยมีฐานเงินฝากอยู่ที่ 10,000 ล้านบาทเช่นกัน ซึ่งในช่วงปีหน้าธนาคารก็ยังคงมีแผนระดมเงินฝากต่อเนื่องจากช่วงปีนี้ ส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ NPL ของธนาคารยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.5%           

เปิดอ่าน6
SSEเผยขาย GEN แต่คงถือหุ้นใหญ่

SSEเผยขาย GEN แต่คงถือหุ้นใหญ่

นายจำนงค์ พุทธิมา กรรมการผู้จัดการ บมจ. ซันไชน์ คอร์เปอเรชั่น (SSE) เปิดเผยว่า ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้สอบถามบริษัท เพิ่มเติม เกี่ยวกับการจำหน่ายเงินลงทุนในบริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) ( GEN ) โดยบริษัท ซันไชน์ อินเตอร์เนชันแนล บิสสิเนส จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ได้มีการจำหน่ายเงินลงทุนใน GEN ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา หรือระหว่างวันที่ 18 มิถุนายน 2552 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2552 คิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 21.59 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดของ GEN ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในกิจการอื่นมากกว่าร้อยละ 10 และเมื่อคำนวณขนาดของรายการตามเกณฑ์การได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์แล้วเท่ากับร้อยละ 18.85 ซึ่งเป็นรายการที่มีขนาดมากกว่าร้อยละ 15 บริษัทจึงมีหน้าที่เปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และจัดส่งหนังสือแจ้งผู้ถือหุ้นภายใน 21 วัน นับตั้งแต่วันที่เปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ นั้น บริษัทขอแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับรายการจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์เพิ่มเติม ดังนี้         1. ลักษณะทั่วไปของบริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน)           บริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2534 ประกอบธุรกิจด้านวัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 1,544 ล้านบาท ชำระแล้ว 517 ล้านบาท โดยธุรกิจหลักของ GEN คือ ผลิตวัสดุก่อสร้าง เช่น เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง คานสะพาน พื้นและผนังคอนกรีตสำเร็จรูป คอนกรีตเสริมใยแก้ว ปูนซีเมนต์ผสมสารป้องกันการหดตัว เป็นต้น โดยบริษัทขอแจ้งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายชื่อผู้ถือหุ้น และคณะกรรมการบริษัทของ GEN ดังนี้            รายชื่อผู้ถือหุ้น (ตามบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2552)           ลำดับ      ชื่อ-นามสกุล/บริษัท                        จำนวนหุ้น       ร้อยละ            1   บริษัท ซันไชน์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)       60,000,000      11.61            2   บริษัท ไมด้า แอสเซ็ท จำกัด (มหาชน)             56,000,000      10.84            3   บริษัท ซันไชน์ อินเตอร์เนชันแนล บิสสิเนส จำกัด     44,317,400       8.58            4   นายโรจน์ ลิ้มสวัสดิ์                            18,500,000       3.58            5   นายกมล เอี้ยวศิวิกูล                           15,000,000       2.90            6   นายเกียรติ กลิ่นจันทร์                          11,160,315       2.16            7   นายอภิชาติ จูตระกูล                            8,450,000       1.64            8   นายอภิรักษ์ จูตระกูล                            8,008,785       1.55            9   นายปิยบุตร เลิศดำริห์การ                        7,193,800       1.39            10  นายนิพนธ์ ณัฐวุฒิ                               6,294,500       1.22                    ผู้ถือหุ้นรายย่อย                           281,887,700      54.54                    รวมหุ้นสามัญทั้งหมด                        516,812,500     100.00                              คณะกรรมการบริษัท                  รายชื่อ                      ตำแหน่ง           นายกมล       เอี้ยวศิวิกูล        ประธานกรรมการ           นายยรรยง     อัครจินดานนท์     ประธานกรรมการบริหาร           นายกิตติชัย     รักตะกนิษฐ์        กรรมการผู้จัดการ           นายฉาย       บุนนาค           กรรมการ           นางสาวรุ่งระวี  เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์    กรรมการ           นายจำนงค์     พุทธิมา           กรรมการ           นายวิสูตร      เอี้ยวศิวิกูล        กรรมการ           นายประโพธ    ชุ่มวัฒนะ          กรรมการ           นายอำนาจ     ตันกุริมาน         กรรมการอิสระ           นายพริษฐ์      ทีฆคีรีกุล          กรรมการอิสระ           พลตรีจิระเดช   โมกขะสมิต        กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ           นางชวนพิศ     ฉายเหมือนวงศ์     กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ           นายวรพล      โลพันธ์ศรี         กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ            ทั้งนี้ GEN และบริษัท มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ นายกมล เอี้ยวศิวิกูล นางสาวรุ่งระวี เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์ นายจำนงค์ พุทธิมา และนายประโพธ ชุ่มวัฒนะ        นอกจากนี้ บริษัทขอแจ้งข้อมูลเพิ่มเติมของรายการจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์เกี่ยวกับแผนการใช้เงิน และความเห็นคณะกรรมการบริหาร ดังนี้         2. แผนการใช้เงินที่ได้รับ           บริษัทจะใช้เงินที่ได้รับจากการจำหน่ายเงินลงทุนเป็นเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท         3. ความเห็นคณะกรรมการบริหาร           จากการหารือระหว่างคณะกรรมการบริหาร ซึ่งประกอบด้วยนายกมล เอี้ยวศิวิกูล นายจำนงค์ พุทธิมา นางโฉมพิศ บุนนาค และนายประโพธ ชุ่มวัฒนะ ทำหน้าที่บริหารเงินลงทุน ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เนื่องจากราคาหุ้นของ GEN ที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ได้มีการปรับตัวลดลงอย่างมาก จึงเห็นสมควรจำหน่ายเงินลงทุนดังกล่าวออกไปบางส่วน เพื่อจำกัดผลขาดทุนที่เกิดขึ้น และลดความเสี่ยงจากการลดลงของมูลค่าเงินลงทุน

เปิดอ่าน6
ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

นายมงคล ลีลาธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) บริษัทในเครือไทยประกันชีวิต จำกัด  เปิดเผยว่า ธนาคารยังยืนยันในการเดินหน้าเข้าไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ตามนโยบายของบริษัทแม่ คือ ภายในระยะ 3 ปีจากนี้ไป ธนาคารจะต้องเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ให้ได้ และมั่นใจว่าจะเป็นไปตามแผนที่ธนาคารตั้งไว้แน่นอน ส่วนเป้าหมายการดำเนินธุรกิจของธนาคารช่วงปี 2553 ในเบื้องต้นนั้น ธนาคารจะเน้นลูกค้ากลุ่มรายย่อยต่อเนื่อง โดยปี 2553 ธนาคารได้ตั้งเป้าฐานลูกค้าสินเชื่อรายย่อยเพิ่มเป็น 6,000 ล้านบาท จากฐานลูกค้าปัจจุบันในปีนี้ที่ 3,000 ล้านบาท โดยในช่วงต้นเดือนมกราคม 2553 ธนาคารจะเปิดเผยถึงแผนการกระตุ้นสินเชื่อดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งยอมรนับว่าแผนการกระตุ้นสินเชื่อรายย่อยที่ธนาคารได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในช่วงปี 2553 นั้นมีหลากหลาย  อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าหลังจากที่ธนาคารดำเนินการตามแผนงานที่ตั้งไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้เป้าหมายในการเพิ่มฐานสินเชื่อรายย่อยเป็นไปตามที่ธนาคารคาดการณ์ไว้แน่นอน สำหรับพอร์ตสินเชื่อธนาคารปีนี้มีทั้งสินประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นสินเชื่อเช่าซื้อประมาณ 4,000 ล้านบาท สินเชื่อที่อยู่อาศัยประมาณ 3,000 ล้านบาท และสินเชื่อเอสเอ็มอีประมาณ 3,000  ล้านบาท  โดยมีฐานเงินฝากอยู่ที่ 10,000 ล้านบาทเช่นกัน ซึ่งในช่วงปีหน้าธนาคารก็ยังคงมีแผนระดมเงินฝากต่อเนื่องจากช่วงปีนี้ ส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ NPL ของธนาคารยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.5%           

เปิดอ่าน2
SPACK มองเป้าปี53 โต7%

SPACK มองเป้าปี53 โต7%

 นายยุทธ ชินสุภัคกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ SPACK กล่าวว่า ปี 53 ตั้งเป้ารายได้ขยายตัว 7% เพิ่มขึ้นจากปีนี้ที่คาดว่าจะทำได้ 1,000 ล้านบาท เนื่องจากยอดขายยังคงเติบโตต่อเนื่อง ประกอบกับได้รับผลดีจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว ทำให้การส่งออกดีขึ้น โดยสัดส่วนรายได้หลักของบริษัทฯ มาจาก 2 ธุรกิจหลัก ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจผลิตถุงมือยางและธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า  ' ปีหน้าถ้าการส่งออก เศรษฐกิจดีขึ้น ความต้องการใช้ถุงมือยางน่าจะดีขึ้นตามเศรษฐกิจ แนวโน้มการดำเนินธุรกิจคงดีขึ้น รายได้คงโตกว่าปีนี้ด้วย ส่วนการแข่งขันของธุรกิจนี้ก็ยังคงรุนแรง แต่ SPACK มีความได้เปรียบ เพราะเป็นผู้ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและมีโรงงานอยู่ที่หาดใหญ่ ซึ่งเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้เร็วกว่ารายอื่นๆ ' นายยุทธ กล่าว ส่วนแผนการควบรวมกิจการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ EPCO คงต้องชะลอออกไปอย่างไม่มีกำหนด เนื่องจากทั้งสองฝ่ายยังไม่มีความพร้อม

เปิดอ่าน5
SPACK มองเป้าปี53 โต7%

SPACK มองเป้าปี53 โต7%

 นายยุทธ ชินสุภัคกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ SPACK กล่าวว่า ปี 53 ตั้งเป้ารายได้ขยายตัว 7% เพิ่มขึ้นจากปีนี้ที่คาดว่าจะทำได้ 1,000 ล้านบาท เนื่องจากยอดขายยังคงเติบโตต่อเนื่อง ประกอบกับได้รับผลดีจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว ทำให้การส่งออกดีขึ้น โดยสัดส่วนรายได้หลักของบริษัทฯ มาจาก 2 ธุรกิจหลัก ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจผลิตถุงมือยางและธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า  ' ปีหน้าถ้าการส่งออก เศรษฐกิจดีขึ้น ความต้องการใช้ถุงมือยางน่าจะดีขึ้นตามเศรษฐกิจ แนวโน้มการดำเนินธุรกิจคงดีขึ้น รายได้คงโตกว่าปีนี้ด้วย ส่วนการแข่งขันของธุรกิจนี้ก็ยังคงรุนแรง แต่ SPACK มีความได้เปรียบ เพราะเป็นผู้ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและมีโรงงานอยู่ที่หาดใหญ่ ซึ่งเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้เร็วกว่ารายอื่นๆ ' นายยุทธ กล่าว ส่วนแผนการควบรวมกิจการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ EPCO คงต้องชะลอออกไปอย่างไม่มีกำหนด เนื่องจากทั้งสองฝ่ายยังไม่มีความพร้อม

เปิดอ่าน5
UMS ถืออะธีนฯ 89.55%- UMS-W1 80.65%

UMS ถืออะธีนฯ 89.55%- UMS-W1 80.65%

          นายชัยวัฒน์ เครือชะเอม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด (มหาชน) หรือ UMS เปิดเผยว่า ตามที่ บริษัท อะธีน โฮลดิ้งส์ จากัด ( อะธีน ) เดิมชื่อ บริษัท เฮอร์เมลิน ชิปปิ้ง จำกัด ได้ทำ การซื้อหุ้นของบริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วิสเซส จำกัด (มหาชน) หรือ UMS  จากนายไพบูลย์ เฉลิมทรัพยากร และนายชัยวัฒน์ เครือชะเอม คิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 48.46 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 และได้ยื่นแบบคำเสนอซื้อหลักทรัพย์  เพื่อเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ( สานักงาน ก.ล.ต. ) รวมทั้งจัดให้มีการรับซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 ถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2552 ที่ผ่านมานั้น        ในวันนี้ อะธีนได้นำส่งสำเนาแบบรายงานผลการเสนอซื้อหลักทรัพย์ แก่บริษัทฯ บริษัทฯ จึงใคร่ขอแจ้งให้ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไปได้ทราบว่า ภายหลังการทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์อะธีนถือหุ้นในบริษัทฯ จำนวน 136,083,041 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 89.55 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ และอะธีนถือใบสาคัญแสดงสิทธิของบริษัทฯ จานวน 56,453,219 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 80.65 ของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ หรือคิดเป็นร้อยละ97.20 ของใบสำคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่ยังไม่ได้ใช้สิทธิแปลงสภาพของบริษัทฯ

เปิดอ่าน7
STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) หรือ STEEL เปิดเผย ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการควบรวมกิจการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้สอบถามเบื้องต้นดังนี้1. บริษัทมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มทุนครั้งนี้คือเพื่อนำไปซื้อกิจการของบริษัท โซล่าเพาเวอร์ จำกัด ซึ่งธุรกิจมีศัยภาพสูงในการลงทุน บริษัทจึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนแบบเฉพาะเจาะจง2. รายละเอียดของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด    รายชื่อกรรมการ    1. นางสาววันดี กุญชรยาคง    2. นางประคอง กุญชรยาคง    3. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง    4. นายเควิน จีราด พาเนล    5. นายชาญชัย กุลถาวรากร    รายชื่อผู้ถือหุ้น    1. นางประคอง กุญชรยาคง                1,680,000 หุ้น    2. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง                 3,700,000 หุ้น    3. นางสาวสมปอง กุญชรยาคง              4,140,000 หุ้น    4. นางสาวกนกพร กุญชรยาคง              105,000 หุ้น    5. นางสาววันดี กุญชรยาคง                13,750,070 หุ้น    6. นายธมภน ศุภจันทร์ประภา               100,000 หุ้น    7.นายธวัชชัย สุวรรณาคำ                  100,000 หุ้น    8. นายจิราคม ปทุมานนท์                  100,000 หุ้น    9. นายวิทูร มโนมัยกุล                    1,000,000 หุ้น    10. นายศิริพงษ์ พฤทธิพันธุ์                 50,000 หุ้น    11. นายชาญชัย กุลถาวรากร               4,200,000 หุ้น    12. นางสาวฉัฐนันท์ ธนาสินวิวัฒน์             500,000 หุ้น    13. นายนิธิศ ศิลมัฐ                      500,000 หุ้น    14. นายเควิน จีราด พาเนล               2,075,000 หุ้น    15. นายแอนโทนี พาเนล                  999,990 หุ้น    16. นายเอียน แลงคาสเตอร์               999,950 หุ้น    17. นายโรนัล เตียว                     299,990 หุ้น    18. เคียวเซร่า คอร์ปอเรชั่น               700,000 หุ้น     ข้อมูลทางการเงิน - ยังไม่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี3. เหตุผลที่บริษัทเลือกขยายการดำเนินธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากธุรกิจในหมวดพลังงานถือเป็นหมวดที่มีความมั่นคง มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนธุรกิจ ซึ่งการควบรวมจะทำให้บริษัทมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนในอนาคตเพิ่มขึ้น อีกทั้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านั้นมีเทคนิคการก่อสร้างในทางเดียวกับที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู่ อีกทั้งยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในการก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นประโยชน์ทางธุรกิจอย่างสูงกับบริษัท สาเหตุที่เลือกบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด นั้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเติบโตโดยตลอด ไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมานั้นจะส่งขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งจำนวน ซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังรับสร้างโรงไฟฟ้าให้กับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย4. หลักเกณฑ์ที่บริษัทใช้ในการกำหนดราคาออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น ต้องรอขั้นตอนการทำ Due Diligent จากที่ปรึกษาทางการเงิน5. ชื่อของที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้ามาทำ Due Diligent นั้นอยู่ระหว่างพิจารณาคัดเลือก ทั้งนี้ หากมีรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม บริษัทจะรีบแจ้งเข้ามาที่ตลาดหลักทรัพย์ทันที

เปิดอ่าน4
STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) หรือ STEEL เปิดเผย ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการควบรวมกิจการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้สอบถามเบื้องต้นดังนี้1. บริษัทมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มทุนครั้งนี้คือเพื่อนำไปซื้อกิจการของบริษัท โซล่าเพาเวอร์ จำกัด ซึ่งธุรกิจมีศัยภาพสูงในการลงทุน บริษัทจึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนแบบเฉพาะเจาะจง2. รายละเอียดของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด    รายชื่อกรรมการ    1. นางสาววันดี กุญชรยาคง    2. นางประคอง กุญชรยาคง    3. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง    4. นายเควิน จีราด พาเนล    5. นายชาญชัย กุลถาวรากร    รายชื่อผู้ถือหุ้น    1. นางประคอง กุญชรยาคง                1,680,000 หุ้น    2. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง                 3,700,000 หุ้น    3. นางสาวสมปอง กุญชรยาคง              4,140,000 หุ้น    4. นางสาวกนกพร กุญชรยาคง              105,000 หุ้น    5. นางสาววันดี กุญชรยาคง                13,750,070 หุ้น    6. นายธมภน ศุภจันทร์ประภา               100,000 หุ้น    7.นายธวัชชัย สุวรรณาคำ                  100,000 หุ้น    8. นายจิราคม ปทุมานนท์                  100,000 หุ้น    9. นายวิทูร มโนมัยกุล                    1,000,000 หุ้น    10. นายศิริพงษ์ พฤทธิพันธุ์                 50,000 หุ้น    11. นายชาญชัย กุลถาวรากร               4,200,000 หุ้น    12. นางสาวฉัฐนันท์ ธนาสินวิวัฒน์             500,000 หุ้น    13. นายนิธิศ ศิลมัฐ                      500,000 หุ้น    14. นายเควิน จีราด พาเนล               2,075,000 หุ้น    15. นายแอนโทนี พาเนล                  999,990 หุ้น    16. นายเอียน แลงคาสเตอร์               999,950 หุ้น    17. นายโรนัล เตียว                     299,990 หุ้น    18. เคียวเซร่า คอร์ปอเรชั่น               700,000 หุ้น     ข้อมูลทางการเงิน - ยังไม่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี3. เหตุผลที่บริษัทเลือกขยายการดำเนินธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากธุรกิจในหมวดพลังงานถือเป็นหมวดที่มีความมั่นคง มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนธุรกิจ ซึ่งการควบรวมจะทำให้บริษัทมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนในอนาคตเพิ่มขึ้น อีกทั้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านั้นมีเทคนิคการก่อสร้างในทางเดียวกับที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู่ อีกทั้งยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในการก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นประโยชน์ทางธุรกิจอย่างสูงกับบริษัท สาเหตุที่เลือกบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด นั้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเติบโตโดยตลอด ไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมานั้นจะส่งขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งจำนวน ซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังรับสร้างโรงไฟฟ้าให้กับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย4. หลักเกณฑ์ที่บริษัทใช้ในการกำหนดราคาออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น ต้องรอขั้นตอนการทำ Due Diligent จากที่ปรึกษาทางการเงิน5. ชื่อของที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้ามาทำ Due Diligent นั้นอยู่ระหว่างพิจารณาคัดเลือก ทั้งนี้ หากมีรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม บริษัทจะรีบแจ้งเข้ามาที่ตลาดหลักทรัพย์ทันที

เปิดอ่าน8
SPACK มองเป้าปี53 โต7%

SPACK มองเป้าปี53 โต7%

 นายยุทธ ชินสุภัคกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ SPACK กล่าวว่า ปี 53 ตั้งเป้ารายได้ขยายตัว 7% เพิ่มขึ้นจากปีนี้ที่คาดว่าจะทำได้ 1,000 ล้านบาท เนื่องจากยอดขายยังคงเติบโตต่อเนื่อง ประกอบกับได้รับผลดีจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว ทำให้การส่งออกดีขึ้น โดยสัดส่วนรายได้หลักของบริษัทฯ มาจาก 2 ธุรกิจหลัก ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจผลิตถุงมือยางและธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า  ' ปีหน้าถ้าการส่งออก เศรษฐกิจดีขึ้น ความต้องการใช้ถุงมือยางน่าจะดีขึ้นตามเศรษฐกิจ แนวโน้มการดำเนินธุรกิจคงดีขึ้น รายได้คงโตกว่าปีนี้ด้วย ส่วนการแข่งขันของธุรกิจนี้ก็ยังคงรุนแรง แต่ SPACK มีความได้เปรียบ เพราะเป็นผู้ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและมีโรงงานอยู่ที่หาดใหญ่ ซึ่งเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้เร็วกว่ารายอื่นๆ ' นายยุทธ กล่าว ส่วนแผนการควบรวมกิจการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ EPCO คงต้องชะลอออกไปอย่างไม่มีกำหนด เนื่องจากทั้งสองฝ่ายยังไม่มีความพร้อม

เปิดอ่าน7
SPACK มองเป้าปี53 โต7%

SPACK มองเป้าปี53 โต7%

 นายยุทธ ชินสุภัคกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ SPACK กล่าวว่า ปี 53 ตั้งเป้ารายได้ขยายตัว 7% เพิ่มขึ้นจากปีนี้ที่คาดว่าจะทำได้ 1,000 ล้านบาท เนื่องจากยอดขายยังคงเติบโตต่อเนื่อง ประกอบกับได้รับผลดีจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว ทำให้การส่งออกดีขึ้น โดยสัดส่วนรายได้หลักของบริษัทฯ มาจาก 2 ธุรกิจหลัก ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจผลิตถุงมือยางและธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้า  ' ปีหน้าถ้าการส่งออก เศรษฐกิจดีขึ้น ความต้องการใช้ถุงมือยางน่าจะดีขึ้นตามเศรษฐกิจ แนวโน้มการดำเนินธุรกิจคงดีขึ้น รายได้คงโตกว่าปีนี้ด้วย ส่วนการแข่งขันของธุรกิจนี้ก็ยังคงรุนแรง แต่ SPACK มีความได้เปรียบ เพราะเป็นผู้ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและมีโรงงานอยู่ที่หาดใหญ่ ซึ่งเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้เร็วกว่ารายอื่นๆ ' นายยุทธ กล่าว ส่วนแผนการควบรวมกิจการระหว่างบริษัทฯ กับบริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ EPCO คงต้องชะลอออกไปอย่างไม่มีกำหนด เนื่องจากทั้งสองฝ่ายยังไม่มีความพร้อม

เปิดอ่าน8
SSEเผยขาย GEN แต่คงถือหุ้นใหญ่

SSEเผยขาย GEN แต่คงถือหุ้นใหญ่

นายจำนงค์ พุทธิมา กรรมการผู้จัดการ บมจ. ซันไชน์ คอร์เปอเรชั่น (SSE) เปิดเผยว่า ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้สอบถามบริษัท เพิ่มเติม เกี่ยวกับการจำหน่ายเงินลงทุนในบริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) ( GEN ) โดยบริษัท ซันไชน์ อินเตอร์เนชันแนล บิสสิเนส จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ได้มีการจำหน่ายเงินลงทุนใน GEN ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา หรือระหว่างวันที่ 18 มิถุนายน 2552 ถึงวันที่ 18 ธันวาคม 2552 คิดเป็นสัดส่วนรวมร้อยละ 21.59 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดของ GEN ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในกิจการอื่นมากกว่าร้อยละ 10 และเมื่อคำนวณขนาดของรายการตามเกณฑ์การได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์แล้วเท่ากับร้อยละ 18.85 ซึ่งเป็นรายการที่มีขนาดมากกว่าร้อยละ 15 บริษัทจึงมีหน้าที่เปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และจัดส่งหนังสือแจ้งผู้ถือหุ้นภายใน 21 วัน นับตั้งแต่วันที่เปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ นั้น บริษัทขอแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับรายการจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์เพิ่มเติม ดังนี้         1. ลักษณะทั่วไปของบริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน)           บริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2534 ประกอบธุรกิจด้านวัสดุก่อสร้าง ปัจจุบันมีทุนจดทะเบียน 1,544 ล้านบาท ชำระแล้ว 517 ล้านบาท โดยธุรกิจหลักของ GEN คือ ผลิตวัสดุก่อสร้าง เช่น เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง คานสะพาน พื้นและผนังคอนกรีตสำเร็จรูป คอนกรีตเสริมใยแก้ว ปูนซีเมนต์ผสมสารป้องกันการหดตัว เป็นต้น โดยบริษัทขอแจ้งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายชื่อผู้ถือหุ้น และคณะกรรมการบริษัทของ GEN ดังนี้            รายชื่อผู้ถือหุ้น (ตามบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2552)           ลำดับ      ชื่อ-นามสกุล/บริษัท                        จำนวนหุ้น       ร้อยละ            1   บริษัท ซันไชน์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)       60,000,000      11.61            2   บริษัท ไมด้า แอสเซ็ท จำกัด (มหาชน)             56,000,000      10.84            3   บริษัท ซันไชน์ อินเตอร์เนชันแนล บิสสิเนส จำกัด     44,317,400       8.58            4   นายโรจน์ ลิ้มสวัสดิ์                            18,500,000       3.58            5   นายกมล เอี้ยวศิวิกูล                           15,000,000       2.90            6   นายเกียรติ กลิ่นจันทร์                          11,160,315       2.16            7   นายอภิชาติ จูตระกูล                            8,450,000       1.64            8   นายอภิรักษ์ จูตระกูล                            8,008,785       1.55            9   นายปิยบุตร เลิศดำริห์การ                        7,193,800       1.39            10  นายนิพนธ์ ณัฐวุฒิ                               6,294,500       1.22                    ผู้ถือหุ้นรายย่อย                           281,887,700      54.54                    รวมหุ้นสามัญทั้งหมด                        516,812,500     100.00                              คณะกรรมการบริษัท                  รายชื่อ                      ตำแหน่ง           นายกมล       เอี้ยวศิวิกูล        ประธานกรรมการ           นายยรรยง     อัครจินดานนท์     ประธานกรรมการบริหาร           นายกิตติชัย     รักตะกนิษฐ์        กรรมการผู้จัดการ           นายฉาย       บุนนาค           กรรมการ           นางสาวรุ่งระวี  เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์    กรรมการ           นายจำนงค์     พุทธิมา           กรรมการ           นายวิสูตร      เอี้ยวศิวิกูล        กรรมการ           นายประโพธ    ชุ่มวัฒนะ          กรรมการ           นายอำนาจ     ตันกุริมาน         กรรมการอิสระ           นายพริษฐ์      ทีฆคีรีกุล          กรรมการอิสระ           พลตรีจิระเดช   โมกขะสมิต        กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ           นางชวนพิศ     ฉายเหมือนวงศ์     กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ           นายวรพล      โลพันธ์ศรี         กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ            ทั้งนี้ GEN และบริษัท มีกรรมการร่วมกัน 4 ท่าน ได้แก่ นายกมล เอี้ยวศิวิกูล นางสาวรุ่งระวี เอี่ยมพงษ์ไพฑูรย์ นายจำนงค์ พุทธิมา และนายประโพธ ชุ่มวัฒนะ        นอกจากนี้ บริษัทขอแจ้งข้อมูลเพิ่มเติมของรายการจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์เกี่ยวกับแผนการใช้เงิน และความเห็นคณะกรรมการบริหาร ดังนี้         2. แผนการใช้เงินที่ได้รับ           บริษัทจะใช้เงินที่ได้รับจากการจำหน่ายเงินลงทุนเป็นเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท         3. ความเห็นคณะกรรมการบริหาร           จากการหารือระหว่างคณะกรรมการบริหาร ซึ่งประกอบด้วยนายกมล เอี้ยวศิวิกูล นายจำนงค์ พุทธิมา นางโฉมพิศ บุนนาค และนายประโพธ ชุ่มวัฒนะ ทำหน้าที่บริหารเงินลงทุน ได้พิจารณาแล้วเห็นว่า เนื่องจากราคาหุ้นของ GEN ที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ได้มีการปรับตัวลดลงอย่างมาก จึงเห็นสมควรจำหน่ายเงินลงทุนดังกล่าวออกไปบางส่วน เพื่อจำกัดผลขาดทุนที่เกิดขึ้น และลดความเสี่ยงจากการลดลงของมูลค่าเงินลงทุน

เปิดอ่าน10
STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) หรือ STEEL เปิดเผย ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการควบรวมกิจการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้สอบถามเบื้องต้นดังนี้1. บริษัทมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มทุนครั้งนี้คือเพื่อนำไปซื้อกิจการของบริษัท โซล่าเพาเวอร์ จำกัด ซึ่งธุรกิจมีศัยภาพสูงในการลงทุน บริษัทจึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนแบบเฉพาะเจาะจง2. รายละเอียดของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด    รายชื่อกรรมการ    1. นางสาววันดี กุญชรยาคง    2. นางประคอง กุญชรยาคง    3. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง    4. นายเควิน จีราด พาเนล    5. นายชาญชัย กุลถาวรากร    รายชื่อผู้ถือหุ้น    1. นางประคอง กุญชรยาคง                1,680,000 หุ้น    2. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง                 3,700,000 หุ้น    3. นางสาวสมปอง กุญชรยาคง              4,140,000 หุ้น    4. นางสาวกนกพร กุญชรยาคง              105,000 หุ้น    5. นางสาววันดี กุญชรยาคง                13,750,070 หุ้น    6. นายธมภน ศุภจันทร์ประภา               100,000 หุ้น    7.นายธวัชชัย สุวรรณาคำ                  100,000 หุ้น    8. นายจิราคม ปทุมานนท์                  100,000 หุ้น    9. นายวิทูร มโนมัยกุล                    1,000,000 หุ้น    10. นายศิริพงษ์ พฤทธิพันธุ์                 50,000 หุ้น    11. นายชาญชัย กุลถาวรากร               4,200,000 หุ้น    12. นางสาวฉัฐนันท์ ธนาสินวิวัฒน์             500,000 หุ้น    13. นายนิธิศ ศิลมัฐ                      500,000 หุ้น    14. นายเควิน จีราด พาเนล               2,075,000 หุ้น    15. นายแอนโทนี พาเนล                  999,990 หุ้น    16. นายเอียน แลงคาสเตอร์               999,950 หุ้น    17. นายโรนัล เตียว                     299,990 หุ้น    18. เคียวเซร่า คอร์ปอเรชั่น               700,000 หุ้น     ข้อมูลทางการเงิน - ยังไม่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี3. เหตุผลที่บริษัทเลือกขยายการดำเนินธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากธุรกิจในหมวดพลังงานถือเป็นหมวดที่มีความมั่นคง มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนธุรกิจ ซึ่งการควบรวมจะทำให้บริษัทมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนในอนาคตเพิ่มขึ้น อีกทั้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านั้นมีเทคนิคการก่อสร้างในทางเดียวกับที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู่ อีกทั้งยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในการก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นประโยชน์ทางธุรกิจอย่างสูงกับบริษัท สาเหตุที่เลือกบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด นั้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเติบโตโดยตลอด ไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมานั้นจะส่งขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งจำนวน ซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังรับสร้างโรงไฟฟ้าให้กับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย4. หลักเกณฑ์ที่บริษัทใช้ในการกำหนดราคาออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น ต้องรอขั้นตอนการทำ Due Diligent จากที่ปรึกษาทางการเงิน5. ชื่อของที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้ามาทำ Due Diligent นั้นอยู่ระหว่างพิจารณาคัดเลือก ทั้งนี้ หากมีรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม บริษัทจะรีบแจ้งเข้ามาที่ตลาดหลักทรัพย์ทันที

เปิดอ่าน9
STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) หรือ STEEL เปิดเผย ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการควบรวมกิจการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้สอบถามเบื้องต้นดังนี้1. บริษัทมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มทุนครั้งนี้คือเพื่อนำไปซื้อกิจการของบริษัท โซล่าเพาเวอร์ จำกัด ซึ่งธุรกิจมีศัยภาพสูงในการลงทุน บริษัทจึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนแบบเฉพาะเจาะจง2. รายละเอียดของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด    รายชื่อกรรมการ    1. นางสาววันดี กุญชรยาคง    2. นางประคอง กุญชรยาคง    3. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง    4. นายเควิน จีราด พาเนล    5. นายชาญชัย กุลถาวรากร    รายชื่อผู้ถือหุ้น    1. นางประคอง กุญชรยาคง                1,680,000 หุ้น    2. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง                 3,700,000 หุ้น    3. นางสาวสมปอง กุญชรยาคง              4,140,000 หุ้น    4. นางสาวกนกพร กุญชรยาคง              105,000 หุ้น    5. นางสาววันดี กุญชรยาคง                13,750,070 หุ้น    6. นายธมภน ศุภจันทร์ประภา               100,000 หุ้น    7.นายธวัชชัย สุวรรณาคำ                  100,000 หุ้น    8. นายจิราคม ปทุมานนท์                  100,000 หุ้น    9. นายวิทูร มโนมัยกุล                    1,000,000 หุ้น    10. นายศิริพงษ์ พฤทธิพันธุ์                 50,000 หุ้น    11. นายชาญชัย กุลถาวรากร               4,200,000 หุ้น    12. นางสาวฉัฐนันท์ ธนาสินวิวัฒน์             500,000 หุ้น    13. นายนิธิศ ศิลมัฐ                      500,000 หุ้น    14. นายเควิน จีราด พาเนล               2,075,000 หุ้น    15. นายแอนโทนี พาเนล                  999,990 หุ้น    16. นายเอียน แลงคาสเตอร์               999,950 หุ้น    17. นายโรนัล เตียว                     299,990 หุ้น    18. เคียวเซร่า คอร์ปอเรชั่น               700,000 หุ้น     ข้อมูลทางการเงิน - ยังไม่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี3. เหตุผลที่บริษัทเลือกขยายการดำเนินธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากธุรกิจในหมวดพลังงานถือเป็นหมวดที่มีความมั่นคง มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนธุรกิจ ซึ่งการควบรวมจะทำให้บริษัทมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนในอนาคตเพิ่มขึ้น อีกทั้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านั้นมีเทคนิคการก่อสร้างในทางเดียวกับที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู่ อีกทั้งยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในการก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นประโยชน์ทางธุรกิจอย่างสูงกับบริษัท สาเหตุที่เลือกบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด นั้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเติบโตโดยตลอด ไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมานั้นจะส่งขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งจำนวน ซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังรับสร้างโรงไฟฟ้าให้กับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย4. หลักเกณฑ์ที่บริษัทใช้ในการกำหนดราคาออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น ต้องรอขั้นตอนการทำ Due Diligent จากที่ปรึกษาทางการเงิน5. ชื่อของที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้ามาทำ Due Diligent นั้นอยู่ระหว่างพิจารณาคัดเลือก ทั้งนี้ หากมีรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม บริษัทจะรีบแจ้งเข้ามาที่ตลาดหลักทรัพย์ทันที

เปิดอ่าน11
ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

ไทยเครดิตมั่นใจ 3 ปีข้างหน้าระดมทุนในตลาดฯได้แน่

นายมงคล ลีลาธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยเครดิต เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) บริษัทในเครือไทยประกันชีวิต จำกัด  เปิดเผยว่า ธนาคารยังยืนยันในการเดินหน้าเข้าไประดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ตามนโยบายของบริษัทแม่ คือ ภายในระยะ 3 ปีจากนี้ไป ธนาคารจะต้องเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ให้ได้ และมั่นใจว่าจะเป็นไปตามแผนที่ธนาคารตั้งไว้แน่นอน ส่วนเป้าหมายการดำเนินธุรกิจของธนาคารช่วงปี 2553 ในเบื้องต้นนั้น ธนาคารจะเน้นลูกค้ากลุ่มรายย่อยต่อเนื่อง โดยปี 2553 ธนาคารได้ตั้งเป้าฐานลูกค้าสินเชื่อรายย่อยเพิ่มเป็น 6,000 ล้านบาท จากฐานลูกค้าปัจจุบันในปีนี้ที่ 3,000 ล้านบาท โดยในช่วงต้นเดือนมกราคม 2553 ธนาคารจะเปิดเผยถึงแผนการกระตุ้นสินเชื่อดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งยอมรนับว่าแผนการกระตุ้นสินเชื่อรายย่อยที่ธนาคารได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในช่วงปี 2553 นั้นมีหลากหลาย  อย่างไรก็ตาม เชื่อว่าหลังจากที่ธนาคารดำเนินการตามแผนงานที่ตั้งไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้เป้าหมายในการเพิ่มฐานสินเชื่อรายย่อยเป็นไปตามที่ธนาคารคาดการณ์ไว้แน่นอน สำหรับพอร์ตสินเชื่อธนาคารปีนี้มีทั้งสินประมาณ 10,000 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นสินเชื่อเช่าซื้อประมาณ 4,000 ล้านบาท สินเชื่อที่อยู่อาศัยประมาณ 3,000 ล้านบาท และสินเชื่อเอสเอ็มอีประมาณ 3,000  ล้านบาท  โดยมีฐานเงินฝากอยู่ที่ 10,000 ล้านบาทเช่นกัน ซึ่งในช่วงปีหน้าธนาคารก็ยังคงมีแผนระดมเงินฝากต่อเนื่องจากช่วงปีนี้ ส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ NPL ของธนาคารยังคงอยู่ในระดับต่ำที่ 1.5%           

เปิดอ่าน3
STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) หรือ STEEL เปิดเผย ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการควบรวมกิจการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้สอบถามเบื้องต้นดังนี้1. บริษัทมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มทุนครั้งนี้คือเพื่อนำไปซื้อกิจการของบริษัท โซล่าเพาเวอร์ จำกัด ซึ่งธุรกิจมีศัยภาพสูงในการลงทุน บริษัทจึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนแบบเฉพาะเจาะจง2. รายละเอียดของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด    รายชื่อกรรมการ    1. นางสาววันดี กุญชรยาคง    2. นางประคอง กุญชรยาคง    3. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง    4. นายเควิน จีราด พาเนล    5. นายชาญชัย กุลถาวรากร    รายชื่อผู้ถือหุ้น    1. นางประคอง กุญชรยาคง                1,680,000 หุ้น    2. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง                 3,700,000 หุ้น    3. นางสาวสมปอง กุญชรยาคง              4,140,000 หุ้น    4. นางสาวกนกพร กุญชรยาคง              105,000 หุ้น    5. นางสาววันดี กุญชรยาคง                13,750,070 หุ้น    6. นายธมภน ศุภจันทร์ประภา               100,000 หุ้น    7.นายธวัชชัย สุวรรณาคำ                  100,000 หุ้น    8. นายจิราคม ปทุมานนท์                  100,000 หุ้น    9. นายวิทูร มโนมัยกุล                    1,000,000 หุ้น    10. นายศิริพงษ์ พฤทธิพันธุ์                 50,000 หุ้น    11. นายชาญชัย กุลถาวรากร               4,200,000 หุ้น    12. นางสาวฉัฐนันท์ ธนาสินวิวัฒน์             500,000 หุ้น    13. นายนิธิศ ศิลมัฐ                      500,000 หุ้น    14. นายเควิน จีราด พาเนล               2,075,000 หุ้น    15. นายแอนโทนี พาเนล                  999,990 หุ้น    16. นายเอียน แลงคาสเตอร์               999,950 หุ้น    17. นายโรนัล เตียว                     299,990 หุ้น    18. เคียวเซร่า คอร์ปอเรชั่น               700,000 หุ้น     ข้อมูลทางการเงิน - ยังไม่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี3. เหตุผลที่บริษัทเลือกขยายการดำเนินธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากธุรกิจในหมวดพลังงานถือเป็นหมวดที่มีความมั่นคง มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนธุรกิจ ซึ่งการควบรวมจะทำให้บริษัทมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนในอนาคตเพิ่มขึ้น อีกทั้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านั้นมีเทคนิคการก่อสร้างในทางเดียวกับที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู่ อีกทั้งยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในการก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นประโยชน์ทางธุรกิจอย่างสูงกับบริษัท สาเหตุที่เลือกบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด นั้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเติบโตโดยตลอด ไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมานั้นจะส่งขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งจำนวน ซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังรับสร้างโรงไฟฟ้าให้กับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย4. หลักเกณฑ์ที่บริษัทใช้ในการกำหนดราคาออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น ต้องรอขั้นตอนการทำ Due Diligent จากที่ปรึกษาทางการเงิน5. ชื่อของที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้ามาทำ Due Diligent นั้นอยู่ระหว่างพิจารณาคัดเลือก ทั้งนี้ หากมีรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม บริษัทจะรีบแจ้งเข้ามาที่ตลาดหลักทรัพย์ทันที

เปิดอ่าน11
STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

STEEL เพิ่มทุนซื้อ 'โซล่าเพาเวอร์'

นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน) หรือ STEEL เปิดเผย ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการควบรวมกิจการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ได้สอบถามเบื้องต้นดังนี้1. บริษัทมีวัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มทุนครั้งนี้คือเพื่อนำไปซื้อกิจการของบริษัท โซล่าเพาเวอร์ จำกัด ซึ่งธุรกิจมีศัยภาพสูงในการลงทุน บริษัทจึงมีความจำเป็นต้องเพิ่มทุนแบบเฉพาะเจาะจง2. รายละเอียดของบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด    รายชื่อกรรมการ    1. นางสาววันดี กุญชรยาคง    2. นางประคอง กุญชรยาคง    3. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง    4. นายเควิน จีราด พาเนล    5. นายชาญชัย กุลถาวรากร    รายชื่อผู้ถือหุ้น    1. นางประคอง กุญชรยาคง                1,680,000 หุ้น    2. นายสมศักดิ์ กุญชรยาคง                 3,700,000 หุ้น    3. นางสาวสมปอง กุญชรยาคง              4,140,000 หุ้น    4. นางสาวกนกพร กุญชรยาคง              105,000 หุ้น    5. นางสาววันดี กุญชรยาคง                13,750,070 หุ้น    6. นายธมภน ศุภจันทร์ประภา               100,000 หุ้น    7.นายธวัชชัย สุวรรณาคำ                  100,000 หุ้น    8. นายจิราคม ปทุมานนท์                  100,000 หุ้น    9. นายวิทูร มโนมัยกุล                    1,000,000 หุ้น    10. นายศิริพงษ์ พฤทธิพันธุ์                 50,000 หุ้น    11. นายชาญชัย กุลถาวรากร               4,200,000 หุ้น    12. นางสาวฉัฐนันท์ ธนาสินวิวัฒน์             500,000 หุ้น    13. นายนิธิศ ศิลมัฐ                      500,000 หุ้น    14. นายเควิน จีราด พาเนล               2,075,000 หุ้น    15. นายแอนโทนี พาเนล                  999,990 หุ้น    16. นายเอียน แลงคาสเตอร์               999,950 หุ้น    17. นายโรนัล เตียว                     299,990 หุ้น    18. เคียวเซร่า คอร์ปอเรชั่น               700,000 หุ้น     ข้อมูลทางการเงิน - ยังไม่ได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชี3. เหตุผลที่บริษัทเลือกขยายการดำเนินธุรกิจไปยังธุรกิจพลังงาน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เนื่องจากธุรกิจในหมวดพลังงานถือเป็นหมวดที่มีความมั่นคง มีการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนธุรกิจ ซึ่งการควบรวมจะทำให้บริษัทมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนในอนาคตเพิ่มขึ้น อีกทั้งในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านั้นมีเทคนิคการก่อสร้างในทางเดียวกับที่บริษัทฯ ดำเนินการอยู่ อีกทั้งยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทในการก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นประโยชน์ทางธุรกิจอย่างสูงกับบริษัท สาเหตุที่เลือกบริษัท โซล่า เพาเวอร์ จำกัด นั้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและมีอัตราการเติบโตโดยตลอด ไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นมานั้นจะส่งขายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคทั้งจำนวน ซึ่งมีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังรับสร้างโรงไฟฟ้าให้กับหน่วยงานอื่นๆ ด้วย4. หลักเกณฑ์ที่บริษัทใช้ในการกำหนดราคาออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น ต้องรอขั้นตอนการทำ Due Diligent จากที่ปรึกษาทางการเงิน5. ชื่อของที่ปรึกษาทางการเงินที่เข้ามาทำ Due Diligent นั้นอยู่ระหว่างพิจารณาคัดเลือก ทั้งนี้ หากมีรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม บริษัทจะรีบแจ้งเข้ามาที่ตลาดหลักทรัพย์ทันที

เปิดอ่าน8
AGEลุยโลจิสติกปี53 ปั๊มรายได้เพิ่ม20%

AGEลุยโลจิสติกปี53 ปั๊มรายได้เพิ่ม20%

บมจ.เอเชีย กรีน เอนเนอจี (AGE) เตรียมแผนขยายการลงทุนด้านโลจิสติกปี2553 ต่อเนื่องไปยังปี2554 เพิ่ม หวังลดต้นทุนค่าใช้จ่ายระยะยาว  มั่นใจผลการดำเนินปีหน้ารายได้เพิ่ม 20%นายสมยศ ฐิติสุริยารักษ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเชีย กรีน เอนเนอจี จำกัด (มหาชน) หรือ AGE เปิดเผยว่า ขณะนี้บริษัทอยู่ระหว่างการวางแผนการลงทุนปี 53-54 ซึ่งในเบื้องต้นคาดว่าจะเป็นแผนการขยายการลงทุนทางด้านลอจิสติกส์ เพื่อเป็นการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านการขนส่งของบริษัทฯในอนาคต โดยแผนดังกล่าวคาดว่าจะใช้งบประมาณกว่า 400-500 ล้านบาท  นอกจากนี้ บริษัทมีแผนที่จะขยายการรับคำสั่งซื้อ(ออเดอร์)ไปยังแถบประเทศเพื่อนบ้านด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งคาดว่าจะสามารถเพิ่มยอดออเดอร์)ให้กับบริษัทในปี53 ได้อย่างมากขึ้น    “ ปัจจุบันบริษัทฯมีคลังสินค้าอยู่ 4 แห่ง สามารถเก็บสต๊อกสินค้าได้ถึง 650,000 ตันต่อปี ซึ่งแผนการขยายการลงทุนในครั้งนี้เป็นแผนลงทุนต่อเนื่องระหว่างปี2553-2554 โดยคาดว่าจะสามารถช่วยเสริมศักยภาพการเติบโตของบริษัทฯในระยะยาวได้เป็นอย่างดี เนื่องจากที่ผ่านมาต้นทุนค่าขนส่งอยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ  เพราะต้องอิงกับราคาน้ำมัน ทำให้ช่วงที่ผ่านมาบริษัทฯ ต้องแบกบรับภาระต้นทุนดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ” นายสมยศ กล่าว สำหรับแนวโน้มผลการดำเนินงานในปี 2553นั้น นายสมยศ กล่าวว่า จากแผนการขยายธุรกิจในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาของบริษัทฯจะส่งผลให้ปริมาณยอดขายถ่านหินเพิ่มขึ้นอีก 20% จากปี2552 ที่คาดว่าจะมีปริมาณยอดขายถ่านหินอยู่ที่ 9.5 แสนตัน โดยเพิ่มขึ้นจากปี2551 ที่มีปริมาณยอดขายถ่านหินอยู่ที่8.4 แสนตัน ขณะที่ประมาณการอัตราการเติบโตของรายได้ในปีหน้า คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น20% จากปี2552 ที่มีการคาดการณ์ไว้ที่ระดับ2,100 ล้านบาท  อย่างไรก็ตาม สำหรับทิศทางถ่านหินในปี2553นั้น นายสมยศ กล่าวว่า ในปี2553เชื่อว่าถ่านหินยังคงมีความต้องการสูงตามทิศทางเศรษฐกิจโลก สำหรับราคาถ่านหินในตลาดโลกแนวโน้มที่จะปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันในตลาดโลกด้วยเช่นกัน โดยราคาถ่านหินตามดัชนี BJI ขณะนี้อยู่ที่ 80 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในขณะที่ราคาถ่านหินในประเทศอยู่ที่ 2,500 – 2,700 บาทต่อตัน  อุตสาหกรรมที่ใช้ถ่านหินจำนวนมากได้แก่โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า  และปูนซีเมนท์  และยังคงเป็นอุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มใช้ถ่านหินอย่างต่อเนื่องตามกำลังการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น จากเดิมที่อุตสาหกรรมดังกล่าวได้มีการลดกำลังการผลิตลงตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ซึ่งหากกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวขยายตัวตามที่มีการคาดการณ์ ก็จะเป็นผลดีต่อบริษัทฯที่มีแผนขยายการลงทุนเพื่อรองรับความต้องการถ่านหินในอนาคต       

เปิดอ่าน10